เป้าหมาย (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal):
- เข้าใจและเห็นคุณค่าความสำคัญของพลังงานทดแทน อีกทั้งสามารถผลิตพลังงานทดแทนจากทรัพยากรใกล้ตัวที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
- สามารถนำความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานทดแทน รวมทั้งวิธีการประหยัดหรือลดการใช้พลังงานไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

Mian









Mind Mapping







Web เชื่อมโยงกลุ่มสาระวิชา




หน่วย  : Energy  for  life. พลังงานเพื่อชีวิต 
คำถามหลัก (Big Question) 
- ถ้าแหล่งพลังงานหลักที่ใช้ในปัจจุบันหมดไปจะเป็นอย่างไร และเราสามารถประหยัดหรือลดการใช้พลังงานได้อย่างไร?
- เราจะสามารถผลิตพลังงานจากทรัพยากรที่มีอยู่ เช่น มูลสัตว์ เศษหญ้า เศษอาหาร แสงอาทิตย์ ฯลฯ ได้อย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา:             
            ปัจจุบันไม่ว่าเราจะทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันอะไรก็ตาม ล้วนต้องมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ เช่น การเดินทางคมนาคม การใช้ไฟฟ้าในบ้านเรือน การหุงต้ม เป็นต้น แต่หากพิจารณาดูเหมือนว่าขณะที่ความต้องการใช้พลังงานจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งสวนทางกันกับปริมาณของทรัพยากรที่จะนำมาผลิตพลังงาน เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอย่างไม่จำกัด ที่แนวโน้มของจำนวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เหนือสิ่งอื่นใด ผลพวงที่ตามมาจากการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง นอกจากภาวะโลกอุณหภูมิสูงขึ้นแล้ว โอกาสที่สังคมไทยตลอดสังคมโลกจะเกิดวิกฤตการณ์ด้านพลังงานก็อาจจะเกิดขึ้นได้สูงในอนาคต ดังนั้นการที่เลือกใช้พลังงานทดแทนที่เป็นพลังงานหมุนเวียนที่สามารถใช้ทรัพยากรใกล้ๆ ตัวเรามาใช้ในการผลิต เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวมวล (ชานอ้อย, แกลบ, เศษไม้ ฯ) ก๊าซชีวภาพ(มูลสัตว์, เศษอาหาร ฯ) ไบโอดีเซล ( น้ำมันสัตว์, น้ำมันพืช, สบู่ดำ, ปาล์มน้ำมัน ฯ) เป็นต้น ซึ่งสามารถช่วยลดต้นทุนทั้งยังลดการนำเข้าและพึ่งพาจากแหล่งพลังงานภายนอกประเทศ
              พลังงานทุกชนิดเมื่อรู้จักใช้แล้วสิ่งสำคัญอีกประการคือ การให้ความสำคัญและเห็นคุณค่าต่อการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน เป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้คนในปัจจุบันจะต้องตระหนัก เพื่อความยั่งยืนด้านพลังงานในระยะยาว จากปัญหาดังกล่าวมาข้างต้นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จึงสนใจและอยากเรียนรู้ พลังงานทดแทนเพื่อเรียนรู้ความสำคัญ แหล่งพลังงาน วิธีการ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขด้านพลังงานเพื่อนำไปปรับใช้ในอนาคตต่อไป

เป้าหมาย(Understanding Goal) :
- เข้าใจและเห็นคุณค่าความสำคัญของพลังงานทดแทน อีกทั้งสามารถผลิตพลังงานทดแทนจากทรัพยากรใกล้ตัวที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
- สามารถนำความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานทดแทน รวมทั้งวิธีการประหยัดหรือลดการใช้พลังงานไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน




ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
 หน่วย: Energy  for life พลังงานเพื่อชีวิต ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ภาคเรียนที่ 1/2559 Quarter 1

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
กระบวนการได้มาซึ่งหัวข้อหน่วย
- เลือกหัวข้อ
- ตั้งชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
Mind Mapping ก่อนเรียน
มาตรฐาน  2.1สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมและพลังงานในท้องถิ่น     (ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน  2.2
วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน                (ว 
2.2 .6/2)
มาตรฐาน  8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ                 (ว 
8.1 .5/1)
- วางแผนการสังเกต เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษา
มาตรฐาน  1.1
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม   
(ส 1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน  3.1
ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน  (ส 3.1 .5/2)
มาตรฐาน  2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี (ส 2.1 .5/1)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 .6/5)
จุดเน้นที่ 3
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของพลังงานในท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราวในท้องถิ่น (ส 4.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.2
 อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ (ด้านพลังงาน) ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส 4.2 .5/2)

มาตรฐาน  2.1ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ 2.1 .5/3)
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ 2.1 .6/1)
มาตรฐาน  3.2ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลฝนการเล่มเกมและเข้าร่วมกิจกรรม
(พ 3.2 .5/4)


มาตรฐาน  1.1วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 
1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 
1.1   .5/7)



มาตรฐาน  1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง 1.1 .5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 
1.1 .5/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัว และในกลุ่ม (ง 
1.1 .5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า       (ง 1.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.1
มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง 2.1 .5/4)
มาตรฐาน  3.1
ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

สิ่งที่พบจากการสำรวจ ตรวจสอบ และศึกษา
(ว 8.1 .5/2)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป
 (ว 8.1 .5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่อยากเรียนรู้และสิ่งที่รู้แล้ว
(ว 8.1 .5/6)
















จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)






สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือ
ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 .5/1)
บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 .6/1)


สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
แหล่งกำเนิดและประเภทของพลังงาน- แหล่งกำเนิดของพลังงาน
- ประเภทของพลังงาน
- พลังงานทางเลือก
- นำเสนอข้อมูล
มาตรฐาน  2.1สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมและพลังงานในท้องถิ่น     (ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน  2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และด้านพลังงาน
 (ว 2.2 .6/1)
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน                (ว 
2.2 .6/2)
มาตรฐาน  6.1
อธิบาย จำแนก
มาตรฐาน  1.1
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
 (ส 1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน  3.1
- อธิบายปัจจัยการผลิตและการบริการ (ด้านพลังงาน) (ส 3.1 .5/1)
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน  (ส 3.1 .5/2)
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ
(ส 3.1 .6/1)
- อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน 
(ส 3.1 .6/2)
มาตรฐาน  2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี (ส 2.1 .5/1)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 .6/5)
มาตรฐาน  2.2
วิเคราะห์ประโยชน์ (ด้านพลังงาน) ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล
(ส 2.2 ป.5/3)จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)

มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของพลังงานในท้องถิ่นและภูมิภาคโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1 ป.5/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์(มิติด้านพลังงาน) อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราว(พลังงาน) ในท้องถิ่น (ส 4.1 ป.5/3)
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
(ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
 อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ (ด้านพลังงาน) ที่มีต่อ
มาตรฐาน  2.1ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ 2.1 .5/3)
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ 2.1 .6/1)
มาตรฐาน  3.2ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลฝนการเล่มเกมและเข้าร่วมกิจกรรม
(พ 3.2 .5/4)
มาตรฐาน
  4.1- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 .5/1)
- วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้อ
มาตรฐาน  1.1วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 
1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 
1.1   .5/7)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1 .6/5)

มาตรฐาน  1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง 1.1 .5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 
1.1 .5/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัว และในกลุ่ม       (ง 
1.1 .5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า       (ง 1.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องกา (ง 2.1 .5/4)
เลือกใช้เทคโนโลยีใน
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

ประเภทของหินและการเกิดพลังงาน โดยใช้ลักษณะของหินและแหล่งกำเนิดพลังงานเป็นเกณฑ์ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 6.1 .6/1)
มาตรฐาน  8.1- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ(ว 8.1.5/1)
- วางแผนการสังเกต เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่พบจากการสำรวจ ตรวจสอบ และศึกษา

(ว 8.1 .5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่
มาตรฐาน  5.1
อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง ที่เอื้อต่อการเกิดพลังงาน
(ส 5.1 .5/3)
มาตรฐาน  5.2
นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพ แวดล้อมในภูมิภาค
(ส 5.2 .5/3)
จุดเน้นที่ 3
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

สังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส 4.2 .5/2)
มาตรฐาน ส 4.3
 อธิบายปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ(ด้านพลังงาน) และการปกครองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์จนถึงปัจจุบัน (ส
 4.3 .5/2)
อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน อย่างมีเหตุผล
(พ 4.1 .5/4)

ชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูป แล้วกลับมาใช้ใหม่
(ง 2.1 .5/5)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
(ง 3.1 .5/2)
บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 .6/1)
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล (ง 3.1 .6/2)
เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ (ง 3.1 .6/3)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

น่าเชื่อถือ (ว 8.1 .5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผลและข้อสรุป(ว 8.1 .5/4)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว 8.1 .5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
(ว 8.1 .5/6)
บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว 8.1 .5/7)
นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .5/8)




































































































สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
เรียนรู้และผลิตพลังงานทดแทน- พลังงานก๊าซชีวภาพ
- น้ำมันไบโอดีเซล
- เตาชีวมวล 
เตาถ่าน        
ถ่านอัดแท่ง

มาตรฐาน  2.1สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมและพลังงานในท้องถิ่น     
(ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน  2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และด้านพลังงาน (ว 2.2 .6/1)
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน (ว 
2.2 .6/2)
อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิตจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดย
มาตรฐาน  1.1
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
(ส 1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน  3.1
- อธิบายปัจจัยการผลิตและการบริการ (ด้านพลังงาน) (ส 3.1 .5/1)
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน  (ส 3.1 .5/2)
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 .6/1)
- อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน 
(ส 3.1 .6/2)
- บอกวิธีการและ
มาตรฐาน  2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี
(ส 2.1 .5/1)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 .6/5)
มาตรฐาน  2.2
วิเคราะห์ประโยชน์ (ด้านพลังงาน) ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล
(ส 2.2 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของพลังงานในท้องถิ่นและภูมิภาคโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1 ป.5/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์(มิติด้านพลังงาน) อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราว(พลังงาน) ในท้องถิ่น
(ส 4.1 ป.5/3)
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
(ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน ส 4.2
 อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ (ด้านพลังงาน) ที่มีต่อ
มาตรฐาน  2.1ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ 2.1 .5/3)
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ 2.1 .6/1)
มาตรฐาน  3.2ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลฝนการเล่มเกมและเข้าร่วมกิจกรรม
( 3.2 .5/4)
มาตรฐาน
  4.1- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 .5/1)
- วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์
มาตรฐาน  1.1เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน (ศ 1.1 .5/ 2)
วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 
1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 
1.1 .5/7)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1
มาตรฐาน  1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง 1.1 .5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 
1.1 .5/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัว และสมาชิกกลุ่ม (ง 
1.1.5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า       (ง 1.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.1
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง 2.1 .5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง 2.1 .5/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

มนุษย์(ว 2.2 .6/3)
อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ว 2.2 .6/4)
มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น (ว 2.2 .6/5)
มาตรฐาน  3.1
ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำความร้อน การนำไฟฟ้าและความหนาแน่น
(ว 3.1 .5/1)
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ว 3.1 .5/2)
มาตรฐาน  3.2
ทดลองและอธิบายสมบัติของสารเมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
ประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน 
(ส 3.1 .6/3)
มาตรฐาน  5.1
อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมใน ภูมิภาคของตนเอง ที่เอื้อต่อการเกิดพลังงาน
(ส 5.1 .5/3)
มาตรฐาน  5.2
อธิบายอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและแหล่งพลังงานที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/2)
นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/3)

จุดเน้นที่ 3
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน
(3.1/ป.5/6)
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)


สังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส 4.2 .5/2)
สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน อย่างมีเหตุผล
(พ 4.1 .5/3)
- แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ (พ 4.1 .6/1)
มาตรฐาน  5.1วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (พ 5.1 .5/4)
.6/5)
มาตรฐาน  1.2ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ(ศ1.1 .5/3)
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วกลับมาใช้ใหม่
(ง 2.1 .5/5)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
(ง 3.1 .5/2)
บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 .6/1)
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล (ง 3.1 .6/2)
เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ 
(ง 3.1 .6/3)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

 (ว 3.2 .6/1)
วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป(ว 3.2 .6/2)
อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว 3.2 .6/3)
มาตรฐาน  8.1- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ(ว 8.1 .5/1)
- วางแผนการสังเกต เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่พบจากการสำรวจ ตรวจสอบ และศึกษา

(ว 8.1 .5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่






































































































สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

น่าเชื่อถือ (ว 8.1 .5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผล
และข้อสรุป(ว 8.1 .5/4
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว 8.1 .5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
 (ว 8.1 .5/6)
บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว 8.1 .5/7)
นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .5/8)


































สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
พลังงานและสิ่งแวดล้อม
-การประหยัดพลังงานและการ อนุรักษ์ธรรมชาติ/ สิ่งแวดล้อม
- ประโยชน์และโทษของพลังงาน
- พลังงานในอนาคต             
มาตรฐาน  1.1อภิปรายวัฏจักรชีวิตของสัตว์บางชนิดและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับแหล่งกำเนิดพลังงาน และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว 1.1 .5/5)
มาตรฐาน  2.1สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมและพลังงานในท้องถิ่น
(ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน  2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และด้านพลังงาน (ว 2.2 .6/1)
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน (ว 
2.2 .6/2)
อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิตจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์(ว 2.2 .6/3)

มาตรฐาน  1.1
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม   
(ส 1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน  3.1
- อธิบายปัจจัยการผลิตและการบริการ (ด้านพลังงาน) (ส 3.1 .5/1)
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน  (ส 3.1 .5/2)
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 .6/1)
- อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน 
(ส 3.1 .6/2)
- บอกวิธีการและ
มาตรฐาน  2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี(ส 2.1 .5/1)
- มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน(ส 2.1 .5/4)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
 (ส 2.1 .6/5)
มาตรฐาน  2.2
วิเคราะห์ประโยชน์ (ด้านพลังงาน) ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล
(ส 2.2 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของพลังงานในท้องถิ่นและภูมิภาคโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1 ป.5/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์(มิติด้านพลังงาน) อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราว(พลังงาน) ในท้องถิ่น
(ส 4.1 ป.5/3)
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
(ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน  2.1ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ 2.1 .5/3)
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ 2.1 .6/1)
มาตรฐาน  3.2ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลฝนการเล่มเกมและเข้าร่วมกิจกรรม
( 3.2 .5/4)
มาตรฐาน
  4.1- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 .5/1)
มาตรฐาน  1.1เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน (ศ 1.1 .5/ 2)
วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 
1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 
1.1 .5/7)
อธิบายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้าง
มาตรฐาน  1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง 1.1 .5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 
1.1 .5/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัว และสมาชิกกลุ่ม (ง 
1.1.5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า       (ง 1.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.1
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง 2.1 .5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(ว 2.2 .6/4)
มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น (ว 2.2 .6/5)
มาตรฐาน  3.1
ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดต่างๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียว การนำความร้อน การนำไฟฟ้าและความหนาแน่น
(ว 3.1 .5/1)
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนำวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวัน
(ว 3.1 .5/2)
มาตรฐาน  3.2
ทดลองและอธิบายสมบัติของสารเมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
(ว 3.2 .6/1)
วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
(ว 3.2 .6/2)
อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิต
ประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน 
(ส 3.1 .6/3)
มาตรฐาน  5.1
ระบุลักษณะภูมิลักษณ์ที่สำคัญในภูมิภาคของตนเองในแผนที่ ที่ส่งผลให้เกิดภัยธรรมชาติ
(ส 5.1 .5/2)
อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมใน ภูมิภาคของตนเอง ที่เอื้อต่อการเกิดพลังงาน (ส 5.1 .5/3)
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏ -  การณ์ทางธรรมชาติของประเทศ (ส 5.1 .6/2)
มาตรฐาน  5.2
อธิบายอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและแหล่งพลังงานที่ก่อให้เกิดวิถี
จุดเน้นที่ 3
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

มาตรฐาน ส 4.2
 - อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ (ด้านพลังงาน) ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส 4.2 .5/2)
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน (ด้านพลังงาน)
(ส 4.2 .6/1)
- วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้อ
อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน อย่างมีเหตุผล
(พ 4.1 .5/3)
- แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ (พ 4.1 .6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความรับผิดชอบต่อสุขภาพของส่วนรวม
(พ 4.1 .6/3)
มาตรฐาน  5.1วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (พ 5.1 .5/4)
ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ (พ 5.1 .6/2)
งานทัศนศิลป์
(ศ 1.1 .6/2)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1 .6/5)
สร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอดความคิด หรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ  (ศ 1.1 .6/7)
มาตรฐาน  1.2ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้หรือนิทรรศการศิลปะ
(ศ 1.1 .5/3)
มาตรฐาน  3.1แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิดของตน
(ศ 3.1 .5/ 2)
(ง 2.1 .5/4)
เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วกลับมาใช้ใหม่
(ง 2.1 .5/5)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
(ง 3.1 .5/2)
บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 .6/1)
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล (ง 3.1 .6/2)
เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ
(ง 3.1 .6/3)

สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

 และสิ่งแวดล้อม
(ว 3.2 .6/3)
มาตรฐาน  5.1ทดลองและอธิบายต่อหลอดไฟทั้งแบบอนุกรม แบบขนาน และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 5.1 .6/4)
สืบค้นและอธิบายธรณีพิบัติภัยที่มีผลต่อมนุษย์และสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น (ว 6.1 .6/3)
มาตรฐาน  8.1- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ(ว 8.1.5/1)
- วางแผนการสังเกต เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่พบจากการสำรวจ ตรวจสอบ และศึกษา(ว 
8.1 .5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้อง
ชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/2)
นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/3)
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
(ส 5.2 .6/1)
อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
(ส 5.2 .6/2)
จัดทำแผนการใช้ทรัพยากรในชุมชน
(ส 5.2 .6/3)



มีส่วนร่วมในกลุ่มกับการเขียนเค้าโครงเรื่องหรือบทละครสั้น ๆ (ศ 3.1 .5/ 4)
บอกประโยชน์ที่ได้รับจกการชมการแสดง
(ศ 3.1 .5/ 6)
ออกแบบเครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ
(ศ 3.1 .6/ 2)
แสดงความคิดเห็นในการ ชมการแสดง(ศ 3.1 .6/ 5)


























































































สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

เหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ (ว 8.1 .5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผล
และข้อสรุป(ว 8.1 .5/4)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว 8.1 .5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
 (ว 8.1 .5/6)
บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว 8.1 .5/7)
นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .5/8)





































สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ
สรุปองค์ความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
มาตรฐาน  2.1สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมและพลังงานในท้องถิ่น
(ว 2.1 .6/3)
มาตรฐาน  2.2
- สืบค้นข้อมูลและอภิปรายแหล่งทรัพยากรในแต่ละท้องถิ่นที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต   และด้านพลังงาน (ว 2.2 .6/1)
- วิเคราะห์ผลของการเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษย์ต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน (ว 
2.2 .6/2)
อภิปรายผลต่อสิ่งมีชีวิตจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทั้งโดยธรรมชาติและโดยมนุษย์(ว 2.2 .6/3)
อภิปรายแนวทางในการดูแลรักษาทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน  1.1
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและสิ่งแวดล้อม
(ส 1.1 ป.5/7)
มาตรฐาน  3.1
- อธิบายปัจจัยการผลิตและการบริการ (ด้านพลังงาน) (ส 3.1 .5/1)
- ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียนและชุมชน  (ส 3.1 .5/2)
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 .6/1)
- อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทัน 
(ส 3.1 .6/2)
- บอกวิธีการและ
มาตรฐาน  2.1
- ยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี (ส 2.1 .5/1)
- มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน(ส 2.1 .5/4)
- แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสมกับกาลเทศะ (ส 2.1 .6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิต ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
 (ส 2.1 .6/5)
มาตรฐาน  2.2
วิเคราะห์ประโยชน์ (ด้านพลังงาน) ที่ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล
(ส 2.2 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของพลังงานในท้องถิ่นและภูมิภาคโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1 ป.5/1)
- รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์(มิติด้านพลังงาน) อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องราว(พลังงาน) ในท้องถิ่น
(ส 4.1 ป.5/3)
นำเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต
(ส 4.1 ป.6/2)
มาตรฐาน  2.1ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่มเพื่อน (พ 2.1 .5/3)
อธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
(พ 2.1 .6/1)
มาตรฐาน  3.2ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลฝนการเล่มเกมและเข้าร่วมกิจกรรม
( 3.2 .5/4)
มาตรฐาน
  4.1- แสดงพฤติกรรมที่เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติแห่งชาติ (พ 4.1 .5/1)
มาตรฐาน  1.1เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ 1.1 .5/ 2)
วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี  (ศ 1.1 .5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 
1.1 .5/6)
- บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 
1.1 .5/7)
อธิบายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้าง
มาตรฐาน  1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนถูกต้องตามกระบวนการทำงาน (ง 1.1 .5/1)
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีตและมีความคิดสร้างสรรค์ (ง 
1.1.5/2)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในครอบครัว และสมาชิกกลุ่ม (ง 
1.1 .5/3)
- มีจิตสำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า       (ง 1.1 .5/4)
มาตรฐาน  2.1
นำความรู้และทักษะการสร้างชิ้นงานไปประยุกต์ในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้
(ง 2.1 .5/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง 2.1 .5/4)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

(ว 2.2 .6/4)
มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น (ว 2.2 .6/5)
มาตรฐาน  8.1- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นหรือเรื่อง หรือสถานการณ์ที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจ(ว 8.1 .5/1)
- วางแผนการสังเกต เสนอการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าและคาดการณ์สิ่งที่พบจากการสำรวจ ตรวจสอบ และศึกษา

(ว 8.1 .5/2)
- เลือกอุปกรณ์ที่ถูกต้องเหมาะสมในการสำรวจตรวจสอบให้ได้ข้อมูลที่
ประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน 
(ส 3.1 .6/3มาตรฐาน  5.1
อธิบายความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมใน ภูมิภาคของตนเอง ที่เอื้อต่อการเกิดพลังงาน (ส 5.1 .5/3)
- อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับปรากฏ -  การณ์ทางธรรมชาติของประเทศ (ส 5.1 .6/2)
มาตรฐาน  5.2
อธิบายอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและแหล่งพลังงานที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์   
จุดเน้นที่ 3
มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง   กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)

มาตรฐาน ส 4.2
 - อภิปรายอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ (ด้านพลังงาน) ที่มีต่อสังคมไทยปัจจุบันโดยสังเขป
(ส 4.2 .5/2)
อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน (ด้านพลังงาน)
(ส 4.2 .6/1)
- แสดงพฤติกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ (พ 4.1 .6/1)
- แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความรับผิดชอบต่อสุขภาพของส่วนรวม
(พ 4.1 .6/3)
มาตรฐาน  5.1วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ (พ 5.1 .5/4)
ระบุวิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ (พ 5.1 .6/2)
งานทัศนศิลป์
(ศ 1.1 .6/2)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1 .6/5)
สร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอดความคิด   หรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ 
(ศ 1.1 .6/7)
มาตรฐาน  3.1แสดงท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตามความคิดของตน
(ศ 3.1 .5/ 2)
มีส่วนร่วมในกลุ่มกับการเขียนเค้าโครงเรื่องหรือบทละครสั้น ๆ (ศ 3.1 .5/ 4)
บอกประโยชน์ที่



เลือกใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช้ด้วยการแปรรูปแล้วกลับมาใช้ใหม่
(ง 2.1 .5/5)
มาตรฐาน  3.1
- ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 .5/1)
- สร้างงานเอกสารเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยความรับผิดชอบ
(ง 3.1 .5/2)
บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 .6/1)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษา
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ

น่าเชื่อถือ (ว 8.1 .5/3)
- บันทึกข้อมูลในเชิงปริมาณและคุณภาพและตรวจสอบผลกับสิ่งที่คาดการณ์ไว้นำเสนอผล
และข้อสรุป(ว 8.1 .5/4)
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการสำรวจตรวจสอบต่อไป (ว 8.1 .5/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
 (ว 8.1 .5/6)
บันทึกและอธิบายผลการสำรวจ ตรวจสอบตามความเป็นจริงมีการอ้างอิง (ว 8.1 .5/7)
นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาหรือเขียนอธิบายแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 .5/8)


วัฒนธรรมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/2)
นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและการทำลายสภาพแวดล้อมและเสนอแนวคิดในการรักษาสภาพแวดล้อมในภูมิภาค (ส 5.2 .5/3)
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมทางสังคมในประเทศ
(ส 5.2 .6/1)
อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติในประเทศไทยจากอดีตถึงปัจจุบัน และผลที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงนั้น
(ส 5.2 .6/2)




ได้รับจกการชมการแสดง
(ศ 3.1 .5/ 6)
ออกแบบเครื่องแต่งกาย หรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ
(ศ 3.1 .6/ 2)
แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง
(ศ 3.1 .6/ 5)

ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล (ง 3.1 .6/2)
เก็บรักษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ 
(ง 3.1 .6/3)























































































ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL ( Problem Based  Learning )
หน่วย  : :Energy  for  life. พลังงานเพื่อชีวิต ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559

Week
Input
Process
Output
Outcome
1

16 - 20
..
2559
โจทย์ :เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key  Questions :
- เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงปิดเรียน มีอะไรบ้างที่นักเรียนประทับใจ?

- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรใน Quarter  นี้   เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้?

- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
เครื่องมือคิด :
Blackboard  Share 
Think  Pair Share
Show and Share
Round Rubin
Placemat

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ มนุษย์กับพลังงาน
- คลิปวีดิโอ “พลังงานทดแทน”
- ครูเปิดคลิปสารคดี “มนุษย์กับพลังงาน”ให้นักเรียนดู
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับ สารคดีที่ได้ดู นักเรียนเห็นอะไรและรู้สึกอย่างไรผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสารคดีมนุษย์กับพลังงาน
 - นักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter นี้
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น  6 กลุ่มสรุปสิ่งที่ได้จากคลิปสารคดีมนุษย์กับพลังงาน ผ่านเครื่องมือ Placemat
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้จากคลิปสารคดีมนุษย์กับพลังงาน ผ่านเครื่องมือ Placemat
นักเรียนนำเสนอ Placemat สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากสารคดีมนุษย์กับพลังงาน
- ครูเปิดคลิปเกี่ยวกับพลังงานทดแทนให้นักเรียนชม
- ครูและนักเรียนสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูได้เห็น จากนั้นนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้จากคลิปสารคดีพลังงานทดแทนลงบนกระดาษ A4
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม “ใน Quarter นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร?
- นักเรียนช่วยกันเลือกเรื่องที่อยากจะเรียน ผ่านเครื่องมือคิด Blackboard  Share 
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
- นักเรียนช่วยกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผ่านเครื่องมือคิด Think  Pair Share
- นักเรียนแต่ละคนช่วยกันทำป้ายหน่วยการเรียนรู้ตกแต่งหน้าห้อง
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
- พูดคุยสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหาจากการดูคลิปวีดีโอ

ชิ้นงาน
- Placemat  ความเข้าใจสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
- สรุปความเข้าใจจากคลิปลง A4
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1

 ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น และอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และต้องการรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิง เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองและเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
- สามารถรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา


Week
Input
Process
Output
Outcome
2

23-27
..
2559
โจทย์ :  กระบวนการออกแบบและวางแผนการเรียนรู้
Key  Questions :
นักเรียนรู้และเข้าใจอะไรเกี่ยวกับพลังงานและพลังงาน?
 - นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter1อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
- นักเรียนจะออกแบบและวางเนื้อหา Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
- นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้?
เครื่องมือคิด :
Blackboard  Share
Mind  Mapping
Wall  Thinking
Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกันเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้

ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนรู้และเข้าใจอะไรเกี่ยวกับพลังงานและพลังงานทดแทน?
นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือคิด Blackboard  Share

นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วยการเรียนรู้
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter 1 อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
นักเรียนทุกคนระดมความคิด เพื่อทำปฏิทินการเรียนรู้
นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ของตนเอง
ในรูปแบบ Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้?
นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด Round Rubin
นักเรียนทุกคน Show and Share นำเสนอชิ้นงาน Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้ของตนเองให้ครูและเพื่อนๆฟัง
นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่2
ครูให้การบ้าน โดยให้นักเรียนได้จัดเตรียมน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว เพื่อนำมาทำไบโอดีเซลในสัปดาห์ที่ 3                   

ภาระงาน
นักเรียนพูดคุยสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสิ่งที่ได้ดูและร่วมออกแบบวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2

ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- คิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
พบเห็นสู่การเรียนวิชาโครงงาน  เช่น  เขียน
สิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงได้
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
  
Week
Input
Process
Output
Outcome
3
30..
-3 มิ..
2559


โจทย์ : แหล่งพลังงานต่างๆ
Key  Questions :
- เราสามารถผลิตน้ำมันใช้เองได้หรือไม่ อย่างไร?
- ก่อนที่เราจะเริ่มดำเนินการผลิตไบโอดีเซล เราจะต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Wall  Thinking  

Show and Share  

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- คลิปวีดิโอเรื่องพลังงานทดแทน
-คลิปวีดีโอ “ไบโอดีเซลจากน้ำมันพืช
- ห้องสมุด
- Internet
- บรรยากาศภายใน/ภายนอกชั้นเรียน

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน            
- ครูเปิดคลิปวีดีโอเรื่องพลังงานต่างๆให้นักเรียนดูหลังจากดูจบครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร ได้เรียนรู้อะไรและจะนำไปปรับใช้กับตัวเองอย่างไร?
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอเรื่องพลังงานต่างๆ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มเพื่อจับฉลากสืบค้นพลังงานดังต่อไปนี้
1.พลังงานลม
2. พลังงานน้ำ
3. หลังงานนิวเคลียร์
4.พลังงานใต้พิภพ
5. พลังงานทดแทน
- นักเรียนแต่นำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟังในรูปแบบที่น่าสนใจ(ชาร์ตความรู้ นิทานช่อง ละคร ฯลฯ)
- ครูเปิดคลิปวีดีโอพลังงานทดแทนตอน การทำน้ำมันไบโอดีเซลให้นักเรียนดู หลังจากดูจบครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร ได้เรียนรู้อะไรและนำไปปรับใช้กับตนเองอย่างไร?
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ“ไบโอดีเซลจากน้ำมันพืช
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการทำไปโอดีเซลจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย เช่น ห้องสมุด Internet ฯลฯ
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้ดูจากคลิปลงในชิ้นงานผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart
- นักเรียนนำเสนอผลงานของกลุ่มตนเอง ให้เพื่อนๆ และคุณครูฟัง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ก่อนที่เราจะเริ่มดำเนินการผลิตไบโอดีเซล เราจะต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการผลิตไบโอดีเซล เช่น ทำความสะอาด ตรวจสอบสภาพการใช้งาน ฯลฯ
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
ภาระงาน
- พูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับคลิปวีดีโอพลังงานทดแทน
- นำเสนอชาร์ตความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานต่างๆ

ชิ้นงาน
- สรุปชาร์ตความเข้าใจจากข้อมูลด้านพลังงานที่สืบค้น
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวีดีโอพลังงานทดแทน ตอน การทำไบโอดีเซล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
ความรู้
นักเรียนสามารถออกแบบวางแผนกระบวนการผลิตพลังงานทดแทนได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- คิดจินตนาการเชื่อมโยงและแยกแยะข้อมูลจากสิ่งที่ได้พบเห็นและค้นคว้า
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตาม
เป้าหมาย
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
- รู้เวลาและหน้าที่ของตน

Week
Input
Process
Output
Outcome
4
6 - 10
มิ..

2559



โจทย์ : การผลิตไบโอดีเซล
Key  Questions :
- นักเรียนคิดว่าการทำไบโอดีเซลมีกระบวนการอย่างไรบ้าง
- ไบโอดีเซลมีความสำคัญอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนคิดว่าประเทศของเรามีการใช้ไบโอดีเซลในปริมาณมากหรือน้อย เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทำไบโอดีเซล?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Card and Chart
 Wall  Thinking  

Show and Share  

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- แหล่งข้อมูล
- ห้องสมุด
- Internet / Computer
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าการทำไบโอดีเซลมีกระบวนการอย่างไรบ้าง?
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการทำไบโอดีเซล
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่มศึกษาการทำไบโอดีเซลอย่างละเอียดและนำมานำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “เราจะสามารถผลิตไบโอดีเซลได้อย่างไร?
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ก่อนที่เราจะเริ่มดำเนินการผลิตไบโอดีเซล เราจะต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
- ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการผลิตไบโอดีเซล เช่น ทำความสะอาด ตรวจสอบสภาพการใช้งาน ฯลฯ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านเครื่องมือ Card and Chart นำเสนอให้เพื่อนๆ และคุณครูฟัง เพื่อนๆ และคุณครูร่วมกันสะท้อนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย เช่น Flowchart, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการทำไบโอดีเซล
- การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการผลิตและความสำคัญของไบโอดีเซล

ชิ้นงาน
- Flow Chart สรุปความเข้าใจหลังผลิตไบโอดีเซล

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4

กิจกรรมคู่ขนาน
- การทำไบโอดีเซล
- การทำเตาเผาถ่าน



ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถผลิตพลังงานทดแทนจากไบโอดีเซลได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย

Week
Input
Process
Output
Outcome
5
13 - 17
มิ..

2559



โจทย์ : การผลิตไบโอดีเซล
Key  Questions :
- นักเรียนคิดว่าการทำไบโอดีเซลมีกระบวนการอย่างไรบ้าง
- ไบโอดีเซลมีความสำคัญอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนคิดว่าประเทศของเรามีการใช้ไบโอดีเซลในปริมาณมากหรือน้อย เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น?
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการทำไบโอดีเซล?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Card and Chart
 Wall  Thinking  

Show and Share  

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- แหล่งข้อมูล
- ห้องสมุด
- Internet / Computer
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการทำไบโอดีเซล
- ครูเริ่มพานักเรียนลงมือผลิตไบโอดีเซล
- นักเรียนน้ำมันพืชที่ใช้แล้วมากรอง เตรียมเข้าสู่กระบวนการผลิตไบโอดีเซล
- นักเรียนเรียนรู้ ลงมือปฏิบัติ บันทึกผล สรุป นำเสนอ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ไบโอดีเซลมีความสำคัญอย่างไรบ้าง?
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นผ่านเครื่องมือคิด Round Robin
- แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น ห้องสมุด Internet เป็นต้น
- นักเรียนสรุปความเข้าใจ ในรูปแบบ Flow Chart สรุปความเข้าใจหลังผลิตไบโอดีเซล

- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลาย เช่น Flowchart, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง และบรรยาย


ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกระบวนการทำไบโอดีเซล

ชิ้นงาน
- Flow Chart สรุปความเข้าใจหลังผลิตไบโอดีเซล

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 4

กิจกรรมคู่ขนาน
- การทำไบโอดีเซล
- การทำเตาเผาถ่าน



ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจและสามารถผลิตพลังงานทดแทนจากไบโอดีเซลได้


ทักษะ :

ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา

Week
Input
Process
Output
Outcome
6
20 - 24
มิ.ย. 

2559



โจทย์ : การผลิตไบโอดีเซจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้ว(ต่อ)  และพลังงานชีวมวลจากเศษวัสดุธรรมชาติ
Key  Questions :
- นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนของน้ำมันหรือไม่ อย่างไร?
- นักเรียนจะมีวิธีการใช้เชื้อเพลิงจากธรรมชาติอย่างไรให้ได้ความร้อนที่นานในการหุงต้ม และก่อมลภาวะทางอากาศน้อยที่สุด?
เครื่องมือคิด :
 Round Robin 
Card and Chart
Wall  Thinking  
Show and Share  
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
 - คลิป ความสำคัญของพลังงานชีวมวล
- ห้องสมุด
- Internet / Computer

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนของน้ำมันหรือไม่ อย่างไร?
- นักเรียนร่วมกันระดมความคิดผ่านเครื่องมือคิด  Round Robin 
- นักเรียนร่วมกันสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นกับน้ำมันที่ตั้งไว้ตั้งแต่วันศุกร์ที่ผ่านมา ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง
- นักเรียนนำน้ำมันที่มีตะกอนไปกรองใหม่อีก 1 รอบ พร้อมลงมือต้มน้ำมัน และผสมสารตั้งต้นในการทำไบโอดีเซล
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนของน้ำมันหรือไม่ อย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากการสังเกตน้ำมันที่ผสมสารตั้งต้นของกลุ่มตนเอง
- ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติในขั้นตอนต่อไปคือ การล้างน้ำมันไบโอดีเซลด้วยน้ำเปล่า เพื่อน้ำมันไบโอดีเซลมีความบริสุทธิ์มากยิ่งขึ้น ก่อนการนำไปใช้งาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำน้ำมันไบโอดีเซลของกลุ่มตนเอง ไปผ่านกระบวนการล้างไบโอดีเซล
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามคิด “นักเรียนจะสามารถนำน้ำมันไบโอดีเซลที่นักเรียนผลิตได้ ไปใช้งานจริงได้อย่างไร?”          
- นักเรียนนำน้ำมันไบโอดีเซลที่ได้ไปผ่านกระบวนการสุดท้ายก่อนการนำไปใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล เช่น เครื่องตัดหญ้า รถไถนาเดินตาม เป็นต้น
- นักเรียนสรุปความเข้าใจ ผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart
- ครูให้นักเรียนลงมือปฏิบัติในขั้นตอนต่อไปคือ การล้างน้ำมันไบโอดีเซลด้วยน้ำเปล่า เพื่อน้ำมันไบโอดีเซลมีความบริสุทธิ์มากยิ่งขึ้น ก่อนการนำไปใช้งาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำน้ำมันไบโอดีเซลของกลุ่มตนเอง ไปผ่านกระบวนการล้างไบโอดีเซล
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม “นักเรียนจะมีวิธีการใช้เชื้อเพลิงจากธรรมชาติอย่างไรให้ได้ความร้อนที่นานในการหุงต้ม และก่อมลภาวะทางอากาศน้อยที่สุด?
- นักเรียนร่วมกันระดมความคิดผ่านเครื่องมือคิด  Round Robin 
- ครูให้นักเรียนหาข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการใช้เชื้อเพลิงที่ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศน้อยที่สุด
- ครูเปิดคลิป ความสำคัญของแก๊สชีวภาพ ให้นักเรียนฟังและชม
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ออกแบบเตาชีวมวล
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอการออกแบบเตาชีวมวลให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์มาทำเตาชีวมวล
- นักเรียนแต่ละคนนำเตาชีวมวลมาทดสอบประกอบอาหาร(ทอดไข่)
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
การบ้าน : ให้นักเรียนเตรียมอุปกรณ์เพื่อมาทำเตา   ชีวมวล เช่น ปี๊บ ถังสี (ขนาดเล็ก)



 ภาระงาน
- นักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการเตรียมอุปกรณ์ลงมือทำเตาชีวมวล
- นักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับนำเสนอการออกแบบเตา                 ชีวมวล

ชิ้นงาน
- ชาร์ตการออกแบบเตาชีวมวล
- ชาร์ตสรุปองค์ความเข้าใจเรื่อง    ไบโอดีเซล
- การออกแบบเตาชีวมวล

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6

กิจกรรมคู่ขนาน
- การทำไบโอดีเซล
- การทำเตาเผาถ่าน

ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถลงมือปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานใกล้ตัวได้อย่างมีวิจารณญาณ


ทักษะ :

ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- การคิดเชื่อมโยงและเห็นคุณค่าของสิ่งรอบๆ ตัวเรา ที่มีผลต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม

Week
Input
Process
Output
Outcome
7
27 มิ.ย.- 1 ..

2559



โจทย์ : ก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ,น้ำหมักจากการเกษตร
Key  Questions :
- ก๊าชชีวภาพประกอบด้วยก๊าชอะไรบ้างจึงสามารถเปลี่ยนเป็นหลังงานได้
- นักเรียนคิดว่า จะสามารถนำวัสดุธรรมชาติที่ใกล้ตัวเราอะไรบ้าง ที่สามารถนำมาให้เกิดกระบวนการหมักแก๊สได้ ?
เครื่องมือคิด :
Round Robin 
Card and Chart
Wall  Thinking  
Show and
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอเรื่อง การทำแก๊สชีวภาพ
- ครูเปิดคลิปการทำแก๊สชีวภาพให้นักเรียนดูหลังจากดูเสร็จครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนเห็นอะไร  ได้เรียนรู้อะไรและจะนำไปปรับใช้กับตัวเองอย่างไร?
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวีดีโอ
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิป
- นักเรียนแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มศึกษากระบวนการหมักแก๊สชีวภาพ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบวิธีการทำน้ำหมักสูตรต่างๆนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น  พูดคุย แลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา ภายในกลุ่มของตนเอง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำมูลสัตว์ไปเติมลงในถังแก๊สข้างโรงอาหาร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลอง
ครูกระตุ้นด้วยคำถามคิด “นักเรียนคิดว่า จะสามารถนำวัสดุธรรมชาติที่ใกล้ตัวเราอะไรบ้าง ที่สามารถนำมาหมักให้เกิดกระบวนการหมักแก๊ส?”          
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัสดุในท้องถิ่นที่สามารถนำมาหมักเป็นแก๊สได้
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่มศึกษาการทำน้ำหมักในแบบต่างๆเช่น น้ำหมักทางการเกษตร น้ำหมักใช้ถูพื้น น้ำหมักใช้ซักผ้าฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้มานำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทำน้ำหมัก
 - นักเรียนจดบันทึก สรุปความเข้าใจ ลงในสมุดของตนเอง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
การบ้าน : ครูให้นักเรียนนำวัสดุธรรมชาติมาทำน้ำหมัก เช่น มะกรูด  กากน้ำตาล มะละกอฯลฯ มาจากบ้าน

 ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกระบวนการหมัก
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวัสดุในท้องถิ่นที่สามารถนำมาหมักเป็นแก๊สได้

ชิ้นงาน
- ชาร์ตสรุปองค์ความเข้าใจเรื่องแก๊สชีวภาพ
- น้ำหมักสูตรต่างๆ

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7

กิจกรรมคู่ขนาน
- การทำไบโอดีเซล
- การทำเตาเผาถ่าน

ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถลงมือปฏิบัติ รวมทั้งการเลือกใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานใกล้ตัวได้อย่างมีวิจารณญาณ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- การคิดเชื่อมโยงและเห็นคุณค่าของสิ่งรอบๆ ตัวเรา ที่มีผลต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม

Week
Input
Process
Output
Outcome
8
4 - 8 .ค. 

2559



โจทย์ : ประโยชน์และผลกระทบของพลังงาน  การประหยัดและการอนุรักษ์พลังงาน
Key  Questions :
- นักเรียนคิดว่าพลังงานมีประโยชน์และโทษอย่างไรต่อชีวิตของเรา?

- นักเรียนคิดว่า เราจะสามารถหยุดภัยพิบัติที่เป็นผลกระทบจากการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลืองได้อย่างไรบ้าง?

- นักเรียนจะมีวิธีการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานได้อย่างไรบ้าง?
- นักเรียนจะถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้เข้าใจและตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
Round Robin  พูดคุย แลกเปลี่ยนประเด็นปัญหาการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
Wall  Thinking  ชิ้นงาน บท /Story Broad ละคร
Show and Share  นำเสนอชิ้นงาน, การแสดงละคร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
 - สารคดี/หนังสั้นเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูให้นักเรียนชมคลิปวิดีโอเกี่ยวกับภัยพิบัติหรือโทษที่เกี่ยวกับการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง
- ครูและนักเรียนสะท้อนและพูดคุยเกี่ยวกับคลิปวิดีโอที่ชมจบลงไป
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติที่เกิดขึ้นทั่วโลก เพื่อให้นักเรียนได้ตระหนักถึงภัยที่เกิดขึ้นใกล้ตัว
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม นักเรียนคิดว่าพลังงานมีประโยชน์และโทษอย่างไรต่อชีวิตของเรา?
- ครูแบ่งกลุ่มออกเป็นกลุ่มละ 3-4 คน หาข้อมูลเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของพลังงาน มาแลกเปลี่ยนกันภายในกลุ่ม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอประโยชน์และโทษจากการใช้พลังงานของกลุ่มตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนกันภายในกลุ่ม
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม นักเรียนจะมีวิธีการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานได้อย่างไรบ้าง?
- นักเรียนร่วมกันระดมความคิดผ่านเครื่องมือคิด  Round Robin 
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 3-4 คน
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดวิธีการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน ให้ได้มากและหลากหลายวิธีที่สุด
- นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดวิธีการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน ให้ได้มากและหลากหลายวิธีที่สุด
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม นักเรียนจะถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้เข้าใจและตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างไรบ้าง?
- ครูนักเรียนดูสารคดีเกี่ยวกับการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานหลังจากการชมสารคดีและละครจบลงครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไร เห็นอะไรและนำไปปรับใช้กับตนเองอย่างไร?
- ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม โดยให้เขียนบท/Story Broad ละครที่จะใช้ในการแสดงถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน
- นักเรียนฝึกซ้อมละครเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอละครเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานเพื่อนๆได้รับชม
- ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับการตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย


 ภาระงาน
- ระดมความคิดวิธีการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
- ซ้อมละคร
- นำเสนอชิ้นงาน

ชิ้นงาน
- วิธีการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
- บท/ Story Broad ละคร

- สรุปการเรียนรู้รายที่ 8

กิจกรรมคู่ขนาน
- การทำไบโอดีเซล
- การทำเตาเผาถ่าน

ความรู้
นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของพลังงาน รวมทั้ง สามารถปฏิบัติและถ่ายทอดการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานได้อย่างมีวิจารณญาณ


ทักษะ :

ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- การคิดเชื่อมโยงและเห็นคุณค่าของสิ่งรอบๆ ตัวเรา ที่มีผลต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม

Week
Input
Process
Output
Outcome
9
11 - 15
ก.ค. 

2559


โจทย์ : พลังงานในอนาคต
Key  Questions :
- นักเรียนคิดว่า พลังงานที่เราใช้ในทุกวันนี้ ในอนาคตจะมีแนวโน้มเป็นเช่นไร?

- นักเรียนคิดว่า อนาคตพลังงานจะเป็นอย่างไร ?

เครื่องมือคิด :
Round Robin 
Card and Chart
 Wall  Thinking  
Show and Share  

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวิดีโอรายการ เรื่องยิ่งใหญ่ จากหัวใจเล็ก” (ช่อง Thai PBS) ตอน ตะกอนแห่งแม่น้ำยม
- คลิปวิดีโอ ภัยพิบัติจากการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวิดีโอรายการ  (ช่อง Thai PBS) ตอน เขื่อนแม่วงศ์
- คลิปวิดีโอ ภัยพิบัติจากการใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง

- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูกระตุ้นคิดด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่า พลังงานที่เราใช้ในทุกวันนี้ ในอนาคตจะมีแนวโน้มเป็นเช่นไร?
- ครูให้นักเรียนดูคลิปเส้นทางของพลังงานไทยและอนาคตพลังงานไทย
- ครูเปิดคลิปวิดีโอรายการ  (ช่อง Thai PBS) ตอน เขื่อนแม่วงศ์ให้นักเรียนชม
- ครูและนักเรียนร่วมพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ในคลิปวิดีโอ
- นักเรียนลงมือทำชิ้นงาน เส้นทางและอนาคตของพลังงานไทย ผ่านเครื่องมือคิด Card and Chart
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม เพื่อให้สืบค้น/ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาและความท้าทายด้านพลังงานที่มีต่อสังคม
- โดยครูได้ให้หัวข้อและโจทย์ไป กลุ่มละ 1 หัวข้อ ปัญหาที่ชุมชน (กรณีตัวอย่าง) ได้รับผลกระทบต่อการผลิตพลังงาน อาทิ ในพื้นที่จังหวัดเลย จังหวัดกระบี่ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดลำปาง
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์ผลกระทบต่อการผลิตพลังงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอประเด็นของกลุ่มตนเอง แลกเปลี่ยนกัน 
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่า อนาคตพลังงานจะเป็นอย่างไร ?
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น  พูดคุย แลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา ผ่าน
- นักเรียนแต่ละคนเขียนบทความเกี่ยวกับพลังงานในอนาคต
- นักเรียนแต่ละคนนำเสนอชิ้นงานของตนเองให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย
 ภาระงาน
- พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นพลังงานในอนาคต
- พูดคุยเกี่ยวกับปัญหา วิธีการแก้ไขปัญหา
- นำเสนอ/แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความพลังงานในอนาคต

ชิ้นงาน
- ชาร์ตสรุปองค์ความเข้าใจเรื่อง พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างแหล่งพลังงาน
- บทความเกี่ยวกับพลังงานในอนาคต

- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9


ความรู้
นักเรียนเข้าใจ รู้คุณค่าของพลังงานในปัจจุบันและอนาคตอย่างมีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- รับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- การคิดเชื่อมโยงและเห็นคุณค่าของสิ่งรอบๆ ตัวเรา ที่มีผลต่อเราทั้งทางตรงและทางอ้อม

Week
Input
Process
Output
Outcome
10


21 - 22

..

2559

***วันที่
18-20 ..59 หยุดวันอาสาฬหบูชา
วันเข้าพรรษา

โจทย์ :การสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้
Key Questions :
นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
เครื่องมือคิด :
Round Robin  แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการนำเสนอถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิต
Brainstorms
Show and Share
Blackboard  Share

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ผลงานต่าง ๆ ที่นักเรียนนำเสนอ
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน

- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?”
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย เรียนรู้ Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิตให้ผู้อื่นเข้าใจ
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิต กระดาษ A3
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter นักเรียนสามารถตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับการสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิตให้ผู้อื่นเข้าใจ

ชิ้นงาน
- นิทานช่องสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิต
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10


ความรู้
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วย Energy   for life พลังงานเพื่อชีวิต ผ่านละคร ภาพวาด การนำเสนอด้วยคำพูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้

ทักษะการคิด


คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตาม เป้าหมาย
  
Week
Input
Process
Output
Outcome
11


25 - 29

..

2559


โจทย์ :การสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
- การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin 
Brainstorms
Mind Mapping
Show and Share
Blackboard  Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ผลงานต่าง ๆ ที่นักเรียนนำเสนอ
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน

- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง ในหน่วยพลังงาน?”
- นักเรียนนำเสนอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นคำถาม ผ่านเครื่องมือ (Round Robin)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เป็นการสรุปองค์ความรู้ความเข้าใจใน Quarter.1 ในรูปแบบ mind mapping
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter นักเรียนสามารถตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิดจากการเรียนรู้หน่วย พลังงานนักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
- นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสามารถและความถนัดในการถ่ายทอด/เผยแพร่องค์ความรู้ความเข้าใจ เช่น การแสดงละคร การนำเสนอด้วยคำพูด การนำเสนอด้วยภาพ เป็นต้น
- นักเรียนลงมือฝึกซ้อมในแต่ละกลุ่มตามที่ได้จัดแบ่งไว้ในข้างต้น
- ร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยน สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมและสิ่งที่ดีแล้วจากการซักซ้อมการนำเสนอ
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะทำอย่างไรให้การนำเสนอองค์ความรู้ให้น่าสนใจและผู้ชมได้รับประโยชน์มากที่สุด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “จากการเรียนรู้หน่วยพลังงาน นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วยพลังงาน
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาและแลกเปลี่ยน คำถาม ข้อสงสัยจากสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย พลังงานเพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอีกครั้ง
- นักเรียนลงมือประเมินตนเองลงในกระดาษ A4
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 11 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง และบรรยาย

ภาระงาน
ฝึกซ้อมการสรุป/ถ่ายทอดและนำเสนอหน่วยที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหน่วย พลังงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

ชิ้นงาน
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ในรูปแบบ mind mapping
- เขียนสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 10


ความรู้
นักเรียนสามารถเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะการคิด

คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ์ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น อย่างไม่มีอคติ เช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
- มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
- มีจิตอาสาในการทำงาน มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
- มีวินัยและมุ่งมั่นในการทำงานให้บรรลุตาม เป้าหมาย